ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ มี อะไร บ้าง

หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลจากคนและส่งต่อข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผล (Process Unit) เพื่อทำการประมวลผลต่อไปรูปแบบการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัสดิจิตอล (หรือเป็นเลข 0 กับ 1) นั่นเองอุปกรณ์ส่วนรับข้อมูลได้แก่ รูปที่ 2. 4 อุปกรณ์รับเข้า อุปกรณ์ในส่วนรับข้อมูลยังมีอีกมากมายและสามารถจะยังมีเพิ่มตามขึ้นไปเรื่อยๆ ตามการพัฒนาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 3. หน่วยแสดงผล(Output Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วนประมวลผลข้อมูลโดยปกติรูปแบบของการแสดงผล มีอยู่ 2 แบบคือแบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้และแบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้ - แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ เช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) และ เครื่องวาด (Plotter) รูปที่ 2. 5อุปกรณ์ส่งออกแบบมีสำเนา - แบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้ เช่น จอภาพ(Monitor), เครื่องฉายภาพ(LCD Projector) และ ลำโพง (Speaker) รูปที่ 2. 6 อุปกรณ์ส่งออกแบบไม่มีสำเนา 4. หน่วยเก็บข้อมูลสํารอง (Secondary Storage) สามารถแบ่งออกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้ 4.

2.1ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

12 Random Access Memory (RAM) ที่มา:

สายแพ (Ribbon Cable) มีลักษณะเป็นสายเล็กๆ เรียงติดกันจนดูเหมือนเป็นแผ่นบางๆและยาวๆ เหมือนริบบิ้น ส่วนหัวต่อของสายชนิดนี้จะเป็นรูเล็กๆ เรียงกันป็นสองแถว โดยมีจำนวนรูเท่ากับจำนวนสาย ซึ่งทำหน้าที่ส่งผ่านข้อมูลจากอุปกรณ์ หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง

10 Flash Drive, Thumb Drive, Handy Drive 5. หน่วยความจำ (Memory Unit) หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งออกหน่วยประมวลผลกลางทำการประมวลผลและรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลและเตรียมส่งออกหน่วยแสดงผลข้อมูลต่อไปซึ่งหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ดังนี้ 5.

  1. อาบ อบ นวด พระราม 9 mois
  2. ย้อม สี ผม สี น้ำตาล
  3. สะโพก ไก่ ทํา อะไร อร่อย
  4. หลวงพ่อลี วัดอโศการาม ปี 2503 พิมพ์เล็ก โลหะผสม สวย พระเครื่อง พระแท้ ประมูล ร้านค้า เว็บ-พระ.คอม
  5. ฮาร์ดแวร์ - พื้นฐานคอมพิวเตอร์
  6. Redmi note 8 pro สี เทา case
  7. สาย ไฟ 35 sq mm to inches
  8. อาชีพ เสริม ทํา อะไร ดี cover
  9. นิ ส สัน อั ล เม ร่า el hotel en inglés
  10. สายการบินที่มีบริการเที่ยวบินตรงจากไทยไปเกาหลี

UPS (Uninterupted Power Supply) เป็นกล่องสี่เหลี่ยมหนักๆ ที่ใช้ต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับปลั๊กไฟ เพื่อเป็นตัวจ่ายไฟฉุกเฉินในกรณีที่ไฟฟ้าเกิดดับกระทันหัน ทำให้มี เวลาบันทึกข้อมูลและปิดเครื่องได้ทันโดยไม่เกิดความเสียหาย 6. เครื่องพิมพ์ (Printer) อาจมีรูปแบบต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องพิมพ์ ซึ่งมีอยู่ 3 จำพวกใหญ่ๆ ด้วยกันได้แก่ Laser, Inkjet และ dot-matrix 7. โมเด็ม (Modem) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถสื่อสารผ่านทางสายโทรศัพท์ มักจะใช้เป็น แฟกซ์ได้ด้วย บางแบบอาจอยู่ภายในเครื่องเลย หรือเรียกว่า "โมเด็มแบบภายใน" (Internal) ส่วนบางแบบที่อยู่นอกเครื่อง จะมีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลียมเล็กๆแบนที่มักมีหลอดไฟบอกสถานะ อยู่เป็นจำนวนมาก เรียกว่า "โมเด็มแบบภายนอก" (External) 8. สแกนเนอร์ (Scanner) หรือเครื่องอ่านภาพและเอกสารเพื่อนำเข้ามาใช้ในเครื่องพีซี สแกนเนอร์แบบตั้งโต๊ะ (Flatbed)จะมีลักษณะเหมือนเครื่องถ่าย เอกสาร คือมีฝาเปิดและแผ่นกระจกสำหรับวางเอกสาร ส่วนแบบ มือถือ (Handhelp) จะเป็นลูกกลิ้งสำหรับลากผ่านเอกสาร และนอก จากนี้ยังมีแบบที่ใช้กระดาษสอดเข้าไปได้อีกด้วย 9. จอยสติ๊ก (Joy stick) หรืออุปกรณ์เล่นเกมชนิดต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นรูปแท่ง รูปวงล้อหรือ คันบังคับเหมือนพวงมาลัยรถยนต์ (Steering) ก็มี ส่วนประกอบที่อยู่ภายใน 10.

ลำโพง (Speaker) ลำโพงมาตรฐาน ที่อยู่ภายในเครื่องจะเป็นลำโพงตัวเล็กๆ ซึ่งมักจะ ซุกซ่อนอยู่ มองหาไม่ค่อยเห็น แต่ก็ไม่สำคัญนัก เพราะส่วนที่สำคัญก็คือ สายลำโพงที่จะต่อเข้ากับเมนบอร์ดนั้นเองซึ่งถ้าไม่มีการเขียนบอกไวก็คง ้จะต้องพยายามหาเพื่อไล่สายว่าสีอะไรที่ต่อกับลำโพงกันแน่ เสียงที่ได้จากลำโพงแบบนี้ไม่ดีนัก เหมาะสำหรับทำเสียงบี๊ปเป็น สัญญาณมากกว่า ถ้าจะฟังเสียงเพลงจากการ์ดเสียงก็ต้องหาลำโพงที่ดี กว่านี้มาเสียบต่อเข้ากับการ์ดเสียงต่างหากอีกชุดหนึ่ง 15. ฟล็อปปี้ดิสก์ไดร์ฟ (Floppy Disk Drive) เมื่อประกอบอยู่กับตัวเครื่องจะเห็นแค่ชิ่งเสียบแผ่น และปุ่มกดสำหรับ Eject (คือนำแผ่นออก) อยู่ภายนอก ส่วนภายในเป็นกล่องสี่เหลี่ยมเล็กๆ ซึ่งมีทั้งสายไฟและ สายสัญญาณที่จะต้องต่อเข้ากับตัวควบคุมฟล็อปปี้ ดิสก์ไดร์ฟ ซึ่งอาจจอยู่บนเมนบอร์ดหรือบนการ์ดเช่นเดียวกับตัวควบคุม ฮาร์ดดิสก์ 16. ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์รูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอกเป็นโลหะที่แข็งแรงและมีแผง วงจรประกอบอยู่ที่ด้านล่าง พร้อมกับช่องเสียบสายสัญญาณและไฟเลี้ยง ส่วนภานในที่ปิดผนึกไว้อย่างมิดชิดจะเป็นแผ่นดิสก์และหัวอ่านที่บอบบาง และไม่อาจทนต่อการกระทบกระเทือนได้ จึงควรระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง เวลาจับถือไม่ควรให้กระแทกหรือกระเทือน และระมัดระวังไม่ให้โดน อุปกรณ์อื่นที่อยู่บนแผงวงจร 17.

Hardware: ความหมาย และ ประเภทของฮาร์ดแวร์

ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน ดังนี้ 1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง ( CPU: Central Processing Unit) หรือมักจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของการคำนวณและเปรียบเทียบ โดยจะทำงานตามจังหวะเวลาที่แน่นอน เรียกว่าสัญญาณ Clock เมื่อมีการเคาะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เราเรียกหน่วย ที่ใช้ในการวัดความเร็วของซีพียูว่า "เฮิร์ท"(Herzt) หมายถึงการทำงานได้กี่ครั้งในจำนวน 1 วินาที เช่น ซีพียู Pentium4 มีความเร็ว 2. 5 GHz หมายถึงทำงานเร็ว 2, 500 ล้านครั้ง ในหนึ่งวินาที กรณีที่สัญญาณ Clock เร็วก็จะทำให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีความเร็วสูงตามไปด้วย ซีพียูที่ทำงานเร็วมาก ราคาก็จะแพงขึ้นมากตามไปด้วย การเลือกซื้อจะต้องเลือกซื้อให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการนำไปใช้ เช่นต้องการนำไปใช้งานกราฟิกส์ ที่มีการประมวลผลมาก จำเป็นที่จะต้องใช้เครื่องที่มีการประมวลผลได้เร็ว ส่วนการพิมพ์รายงานทั่วไปใช้เครื่องที่ความเร็ว 100 MHz ก็เพียงพอแล้ว 2.

หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) หน่วยความจำสำรองคืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาส ต่อไป เนื่องจากหน่วยความจำแรม จำข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มีการเปิดไฟ เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ถ้าต้องการเก็บข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป จะต้องบันทึกข้อมูลลงในหน่วยความจำสำรอง ซึ่งหน่วยความจำสำรองมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน แต่มีนิยมใช้กันทั่วไปคือ ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวีดีรอม ทัมท์ไดร์ฟ เป็นต้น

ซีพียู (CPU) ซีพียู ( CPU: Central Processing Unit) หรือ หน่วยประมวล ผลกลาง คือ ส่วนที่เรียกว่าเป็นหัวใจของเครื่อง คอมพิวเตอร์นั่นเอง เพราะการทำงานทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นการคำนวณ การย้ายข้อมูล การตัดสินใจ ต้องมีอุปกรณ์อื่นทำงานร่วมด้วยเพื่อให้ ้สามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ นั่นก็คือ การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูลนั่นก็คือ การรับข้อมูล และการแสดงผลข้อมูล รวมถึงการกระทำสิ่งต่างๆ ได้นั่นเอง ซึ่งซีพียู ส่วนใหญ่ที่ประกอบอยู่ในเครื่องมักจะมีแผ่นระบายความร้อน(Heat Sink) หรือพัดลมประกบติดอยู่ด้วย ทำให้มองไม่เห็นตัวซีพียูจริงๆ ถ้าไม่ถอด ออกมาแกะดู 12. หน่วยความจำ (RAM) RAM(ย่อมาจาก Random Access Memory) หรือหน่วยความจำ ชนิดที่อ่านและเขียนได้โดยตรงจากซีพียู เป็นส่วนประกอบที่สำคัญเป็น อย่างยิ่งเพราะต้องทำงานร่วมกับซีพียูตลอดเวลาแทบทุกคำสั่งของ ซีพียูต้องอ่านหรือไม่ก็เขียนไปยังหน่วยความจำการทำงานส่วนใหญ่ ของคอมพิวเตอร์คือการถ่ายโอนข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งก็ต้อง ผ่านหน่วยความจำเช่น ข้อมูลที่อ่านหรือเขียนจากแผ่นดิสก์ก็จะต้องไป พักไว้ในหน่วยความจำ ข้อมูลที่แสดงผลบนจอก็จะต้องคัดลอกออกมา จากหน่วยความจำ ดังนั้นหน่วยความจำจึงมีผลต่อการทำงานของซีพียู เป็นอย่างมาก 13.

หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit) ทำหน้าที่ในการป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการป้อนข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้แก่ แป้นพิมพ์ สำหรับพิมพ์ตัวอักษรและอักขระต่าง ๆ เมาส์สำหรับคลิกสั่งงานโปรแกรม สแกนเนอร์สำหรับสแกนรูปภาพ จอยสติ๊ก สำหรับเล่นเกมส์ ไมโครโฟนสำหรับพูดอัดเสียง และกล้องดิจิตอลสำหรับถ่ายภาพ และนำเข้าไปเก็บไว้ ในดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนำไปใช้งานต่อไป 3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูล ที่ผ่านการประมวลผลในรูปของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวหรือ เสียง เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการแสดงผลได้แก่ จอภาพ (Monitor) สำหรับแสดงตัวอักษรและรูปภาพ เครื่องพิมพ์ (Printer) สำหรับพิมพ์ข้อมูลที่อยู่ในเครื่อง ออกทางกระดาษพิมพ์ ลำโพง (Speaker) แสดงเสียงเพลงและคำพูด เป็นต้น 4. หน่วยความจำ (Memory Unit) หน่วยความจำ (Memory Unit) มีหน้าที่ในการจำข้อมูล ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิดคือ หน่วยความถาวร (ROM: Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถจำข้อมูลได้ตลอดเวลา ส่วนหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจำชั่วคราว (RAM: Random Access Memory) หน่วยความจำประเภทนี้ จะจำข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มี การเปิดไฟเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น หน่วยความจำชั่วคราว ถือว่าเป็นหน่วยความจำหลักภายในเครื่อง สามารถซื้อมาติดตั้งเพิ่มเติมได้ เรียกกันทั่วไปคือหน่วยความจำแรม ที่ใช้ในปัจจุบันคือ แรมแบบ SDRAM, RDRAM เป็นต้น 5.

j6 plus 2018 ส เป ค เจ ล ขัด ขี้ ไคล ยี่ห้อ ไหน ดี
  1. แต่ง คอน โด 25 ตรม
  2. ยา มา ฮ่า เมท 111 ราคา