ตัวอย่าง งาน วิจัย เชิง ปริมาณ และ เชิง คุณภาพ

นักวิจัยสามารถลงลึกในรายละเอียดได้มากตามที่ต้องการ เพราะเป็นการศึกษาขนาดเล็ก 2. มีความยืดหยุ่นในการออกแบบ การใช้เครื่องมือสำหรับเก็บข้อมูล และการดำเนินการวิจัย 3. สามารถใช้ข้อมูลได้หลากหลายชนิด ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ในการวิจัยเรื่องเดียวกัน 4. ใช้วิธีเก็บข้อมูลได้หลากหลายวิธี ในงานวิจัยเรื่องเดียวกัน 5. เป็นการวิจัยที่ให้ความสำคัญแก่ความเป็นมนุษย์ของผู้ถูกศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างนักวิจัยกับกลุ่มตัวอย่างมีความสำคัญมาก กลุ่มตัวอย่างไม่ใช่เป็นเพียงผู้ถูกกระทำ แต่เป็นผู้มีส่วนร่วมในการวิจัยนั้น ข้อด้อยของวิจัยเชิงคุณภาพ 1. ไม่เหมาะสำหรับการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ 2. เพราะมีความยืดหยุ่นในการดำเนินการวิจัย หากผู้วิจัยไม่มีประสบการณ์เพียงพอ อาจมีปัญหาในเรื่องความน่าเชื่อถือของการใช้เครื่องมือ และความถูกต้องตรงประเด็นของผลการศึกษา 3. การเลือกกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาแบบเจาะจง ทำให้การนำผลการศึกษาไปใช้ในวงกว้าง เป็นไปอย่างมีข้อจำกัด 4. กระบวนการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ และข้อสรุป ค่อนข้างจะเป็นอัติวิสัย 5. ไม่เหมาะสำหรับใช้ทดสอบสมมติฐาน หรือทดสอบแนวคิดทฤษฏี ข้อดีของวิจัยเชิงปริมาณ 1.

เปรียบเทียบความแตกต่าง | rewsung

ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการแสวงหาความรู้โดยการพิจารณาปรากฏการณ์สังคมจากสภาพแวดล้อมตามความจริงในทุกมิติ สนใจข้อมูลด้าน ความรู้สึกนึกคิด การให้ความหมายหรือคุณค่ากับสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนค่านิยมหรืออุดมการณ์ของบุคคล เน้นการเข้าไปสัมผัสกับข้อมูลหรือปรากฏการณ์โดยตรง มักใช้เวลานานในการศึกษาติดตามระยะยาว ไม่เน้นการใช้สถิติตัวเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การสังเกตและการสัมภาษณ์เป็นวิธีหลักในการ เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (inductive) ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ 1. เน้นข้อมูลด้านความรู้สึกนึกคิด จิตใจ การให้ความหมายหรือคุณค่ากับสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนค่านิยมหรืออุดมการณ์ของบุคคล 2. เป็นการศึกษาปรากฏการณ์ในบริบทสังคมและวัฒนธรรม หรือสภาพแวดล้อมตามความเป็นจริงในภาพรวมโดยการมองจากหลายแง่มุม มักจะมีการวิจัยในสนาม (Field research) 3. เป็นการศึกษาติดตามระยะยาวและเจาะลึกเพื่อให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์สังคม 4. คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้ถูกวิจัยโดยการเข้าไปสัมผัส สร้างความสนิทสนมและความไว้เนื้อเชื่อใจ 5.

5, 0. 1, 0. 01 คือข้อมูลของเราเชื่อถือได้มากเท่าไร นั่นเอง เช่น 0. 5 ก็หมายความว่า ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (เอา 1 ลบตัวเลขนัยสำคัญ คูณ 100) ครับ ผมหวังว่าข้อมูลนี้คงจะให้ความเข้าใจกับคุณได้ไม่มากก็น้อยนะครับ หากการวิจัยเป็นเรื่องใหม่สำหรับคุณ สามารถติดต่อสอบถามจาก Survey Market Thailand ซึ่งเปิดให้บริการรับทำวิจัยตลาดหลากหลายรูปแบบได้เลยครับ

  • ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ
  • โช๊ ค ส วิ ฟ
  • ผง ทา นาคา 7.1.2

ทำวิจัยต้องรู้ ! ความแตกต่างของการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ - Thesis Thailand

มีรากฐานมาจากปรัชญาแนวคิดแบบธรรมชาตินิยม(Naturalism) 2. มุ่งทำความเข้าใจในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างลึกซึ้ง 3. เป็นการวิจัยที่เน้นการพรรณนา/อธิบาย (Descriptive approach) 4. ให้ความสำคัญกับกระบวนการได้มาซึ่งความจริงโดยมองแบบองค์รวม (Wholisticview) 5. ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงอุปมาน 6. มุ่งแสวงหาความรู้เพื่อสร้างเป็นกฏ/ทฤษฎี 7. สิ้นสุดการศึกษาวิจัยด้วยทฤษฎี 8. ส่วนใหญ่เป็นการวิจัยในสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 1. มีรากฐานมาจากปรัชญาแนวคิดแบบปฏิฐานนิยม (Phenomenalism) 2. มุ่งเน้นกาความจริงที่คนทั่วไปจะยอมรับ (common reality) 3. เป็นการวิจัยที่มุ่งเน้นการวิเคราะห์และทดลอง () ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยวิธีการทางสถิติ 4. ให้ความสำคัญกับผลที่จะได้รับมากกว่ากระบวนการการดำเนินการมีขั้นตอน ระเบียบแบบแผนที่ค่อนข้างแน่นอน 5. ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงอนุมาน ด้วยการทดสอบคำตอบที่คาดคิดไว้ล่วงหน้า 6. เริ่มต้นการศึกษาวิจัยด้วยทฤษฎี 7. เริ่มต้นการศึกษาวิจัยด้วยทฤษฎี 8. ส่วนใหญ่เป็นการวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์ ที่มา: มนัส สุวรรณ. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. พิมพ์ที่ โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์, กรุงเทพฯ.

จุมพล หนิมพานิช (2551) "การวิจัยเชิงคุณภาพ (1)" ใน ประมวลสาระชุดวิชาการวิเคราะห์การเมือง และระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์ 80702 หน่วยที่ 9-10 หน้า 5-64 นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชารัฐศาสตร์ ชาย โพธิสิตา (2550) "การวิจัยเชิงคุณภาพ ลักษณะ การใช้ ข้อได้เปรียบ ข้อจำกัด" ใน การบรรยายพิเศษ วันที่ 21 กันยายน 2550 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ดร. ธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ (2551) "วิจัยเชิงปริมาณ(1)-(2)" ใน ประมวลสาระชุดวิชาการวิเคราะห์การเมือง และระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์ 80702 หน่วยที่ 9-10 หน้า 5-64 นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มนัส สุวรรณ (2544) ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ (2548) "รูปแบบของ e-university" ค้นคืนวันที่ 2 กันยายน 2552

มีวัตถุประสงค์เพื่อหาคำตอบ หรือเป็นการแจกแจงวัตถุประสงค์ของการศึกษา กำหนดขอบเขตของปัญหาให้ชัดเจน สามารถหาคำตอบได้ 2. ลักษณะการดำเนินงานวิจัย มีระบบที่แน่นอน สามารถศึกษากลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ได้ 3. กลุ่มตัวอย่างในการศึกษามีจำนวนมาก สามารถนำผลการศึกษาไปใช้ในวงกว้างได้ 4. กระบวนการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ และข้อสรุป มีรูปแบบตายตัว ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ จึงแม่นยำ เที่ยงตรง เพราะใช้วิธีการทางสถิติ 5. สามารถนำมาใช้ทดสอบสมมติฐาน หรือทดสอบแนวคิด ทฤษฏีได้ ข้อด้อยของวิจัยเชิงปริมาณ 1. นักวิจัยไม่สามารถลงลึกในรายละเอียดได้มากตามที่ต้องการเพราะเป็นการศึกษาขนาดใหญ่ 2. ไม่มีความยืดหยุ่นในการออกแบบ การใช้เครื่องมือสำหรับเก็บข้อมูล และการดำเนินการวิจัย เพราะมีรูปแบบการวิจัยที่ชัดเจน ตายตัว 3. ข้อมูลไม่มีความหลากหลาย แต่เน้นความสำคัญที่ คำถาม ของผู้ถามเท่านั้น 4. วิธีเก็บข้อมูลไม่มีความหลากหลาย ในงานวิจัยเรื่องเดียวกัน 5. เป็นการวิจัยที่ไม่ให้ความสำคัญแก่ความเป็นมนุษย์ของผู้ถูกศึกษา ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างนักวิจัยกับกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นเพียงผู้ถูกกระทำ และไม่ได้เป็นผู้มีส่วนร่วมในการวิจัยนั้น บรรณานุกรม ดร.

ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ

วิธี ปิด สัญญาณ เตือน ไฟ ไหม้ มี ตุ่ม ขึ้น ที่ เหงือก

มนัส สุวรรณ. 2544. 2. ยุทธ ไกยวรรณ์. พื้นฐานการวิจัย (ฉบับปรับปรุงใหม่). สุวีริยาสาส์น, กรุงเทพฯ. พิมพ์ครั้ง ที่ 4. 2545.

ใช้การพรรณนาให้เห็นรายละเอียดเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของชุมชนหรือกรณีที่ศึกษา และใช้การวิเคราะห์ตีความโดยนำข้อมูลเชิงรูปธรรมย่อย ๆ หลาย ๆ กรณีมาสรุปเป็นเชิงนามธรรม 6.

  1. ราคา ขาย ไอ โฟน 4.4
  2. หนัง คน ยักษ์ หัวใจ หล่อ